บทที่ 2
จัดระบบโครงสร้างข้อมูล (Information Architecture)
มี 5 Phase 13 ขั้นตอน
phaseที่ 1 สำรวจปัจจัยสำคัญ (Research)
1.รู้จักตัวเอง: กำหนดเป้าหมายหลักของเว็บ คือ จำเป็นต้องมี,อยากให้มี,ยังรอได้
2.เรียนรู้ผู้ใช้ : กำหนดกลุ่มเป้าหมาย
3.สำรวจการแข่งขันและคู่แข่ง : สำรวจบรรยากาศการแข่งขัน ,เรียนรู้จากคู่แข่ง
phaseที่ 2 พัฒนาเนื้อหา (Site Content)
4.สร้างกลยุทธ์การออกแบบ
- ประยุกต์เนื้อหาจากสื่ออื่น
- เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.หาข้อสรุปของขอบเขตเนื้อหา
- กำหนดเนื้อหาและการใช้งานที่จำเป็น
phaseที่ 3 พัฒนาโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure)
6. จัดระบบข้อมูล : จัดกลุ่มและระบุชื่อเนื้อหา คือ ร่างแผนผังโครงสร้าง
7. จัดทำโครงสร้างข้อมูล
- จัดทำรายการโครงสร้างของเว็บ : ควรมองเห็นข้อมูลในรูปแบบกว้างๆแล้วค่อยแตกย่อยลงไป
- จัดทำแผนผังโครงสร้างของเว็บ : เป็นการทำ Site Map
8.พัฒนาระบบเนวิเกชัน
- วางแผนแนวทางการเคลื่อนที่ภายในเว็บไซต์ : แสดงแนวทางการเชื่อมโยงที่ชัดเจน
- สร้างระบบเนวิเกชัน : เริ่มต้นจากการพิจารณาแผนผังโครงสร้างเว็บ
phaseที่ 4 ออกแบบและพัฒนาหน้าเว็บ(Visual Design)
9.ออกแบบลักษณะหน้าตาเว็บเพจ
- สร้างแบบจำลองรายละเอียดข้อมูลในหน้าเว็บ : โดยการร่างเป็นตัวหนังสือก่อน
- จัดแบ่งพื้นที่ในหน้าเว็บ: กำหนดขอบเขต ว่าอะไรอยู่ตรงไหน
- ออกแบบโครงร่างของหน้าตาเว็บ
10.พัฒนาเว็บต้นแบบและโครงสร้างเว็บขั้นตอนสุดท้าย
- สร้างและทดสอบเว็บต้นฉบับ
- สรุปแผนผังโครงสร้างเว็บขั้นสุดท้าย : ผลลัพธ์ขั้นสุดท้าย เรียกว่า
Final architecture blueprint
- ระบุข้อกำหนดในการพัฒนาเว็บไซต์ : ข้อกำหนด (Specs) คือ เอกสารที่กำหนด
ลักษณะการออกแบบ
- กำหนดรูปแบบมาตรฐาน (Style Guide) : ภายในเว็บควรจะมีลักษณะสม่ำเสมอ
phaseที่ 5 พัฒนาและดำเนินการ (Production & Operation)
11.ลงมือพัฒนาเว็บ
- เรียบเรียงและตรวจสอบข้อมูล
- ตกแต่งหน้าเว็บให้สมบูรณ์
- สร้างเทมเพลตสำหรับหน้าเว็บ
- พัฒนาระบบการใช้งานของเว็บ
12.เปิดตัวเว็บไซต์ (Launch)
- ทดสอบคุณภาพการใช้งานและความถูกต้อง : การใช้งาน ความสม่ำเสมอและความถูกต้อง
- ทำให้เว็บเป็นที่รู้จัก : ลงทะเบียนกับ Search engine
13 ดูแลผู้ใช้
- เพิ่มข้อมูลใหม่โดยยึดรูปแบบมาตรฐาน(โครงสร้างเดิม)
- วิเคราะห์สถิติการใช้บริการในเว็บ : ตรวจสอบดูว่าช่วงเวลาใดมีผู้เข้าใช้เป็นจำนวนมากที่สุด
- ตรวจสอบความถูกต้องของลิงค์ : ลิงค์ผิดพลาดจะรู้สึกไม่น่าเชื่อถือ
- ตรวจสอบเนื้อหาและการใช้งานเว็บให้ถูกต้องทันสมัยและตรงกับความต้องการของผู้ใช้อยู่เสมอ
บทที่ 3
ออกแบบเพื่อผู้ใช้
1 กำหนดเป้าหมาย
เป้าหมายของเว็บไซต์นั้นควรจะสัมพันธ์ของหน่วยงาน สามารถวัดผลได้และตั้ง
อยู่บนความเป็นไปได้เพื่อจะได้ออกแบบเนื้อหาและการใช้งานภายในเว็บได้ตรงตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้
อยู่บนความเป็นไปได้เพื่อจะได้ออกแบบเนื้อหาและการใช้งานภายในเว็บได้ตรงตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้
ตัวอย่างเป้าหมายของเว็บทั่วไป ได้แก่
- สำหรับเว็บที่สร้างขึ้นใหม่ (New Site)
- สำหรับเว็บที่เปลี่ยนรูปแบบใหม่ (Redesign Site)
ค้นหาเป้าหมายร่วมระหว่างผู้ใช้กับผู้สร้างเว็บเว็บเปรียบได้กับสินค้าที่ต้องผลิตออก
มาให้ตรงกับความต้องการผู้บริโภค
ความต้องการของหน่วยงาน Vs ความต้องการของผู้ใช้
เว็บท่า : ต้องการรวมทุกสิ่งทุกอย่างไว้ในเว็บของต้นเพื่อเป็นศูนย์กลาง เว็บธุรกิจ : ต้องการปรับตำแหน่งของบริษัทให้มีภาพลักษณ์ที่ดี โดยอาศัยการออกแบบที่สวงาม
2 รู้จักกลุ่มผู้ใช้
คำถามสำคัญเกี่ยวกับผู้ใช้ ประกอบด้วย
- ใครคือผู้ใช้หลักของเว็บ
- พวกเขามีจำนวนเท่าไร
- พวกเขาเข้าถึงเว็บไซต์ได้อย่างไร
- อะไรคือสิ่งที่พวกเขาต้องการ
- พวกเขาทำอะไร
เมื่อเข้าถึงเว็บไซต์วิธีการเรียนรู้เกี่ยวกับผู้ใช้
- สอบถามจากผู้ใช้
- ทดสอบการใช้งานจากผู้ใช้จริง
- สังเกตพฤติกรรมของผูใช้
- สำรวจข้อมูลผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้แบ่งออกเป็น 4 แบบ
1.Demographics : ข้อมูลทางประชากร
2.Web ographice : ข้อมูลเกี่ยวกับประสบการณ์
3.Psychographics : ลักษณะทางจิตรวิทยา
4.Behavior & Activities : พฤติกรรมและกิจกรรม
วิธีที่ดีที่สุด สำหรับผู้สร้างเว็บคือการหาเวลาพูดคุยรับฟังความคิดเห็นและคำวิจารณ์
รวมถึงปัญหาและความไม่สะดวกของผู้ใช้
บทที่ 6
ออกแบบหน้าเว็บใช้แบบจำลองเปรียบเทียบ (Metaphaphor)
การใช้แบบจำลอง มี3วิธี ดังนี้
1.จำลองแบบการจัดระบบ (Organization metaphor)
2.จำลองการใช้งาน (Functional metaphor)
3.จำลองลักษณะที่มองเห็น (Visual metaphor)
หลักการออกแบบหน้าเว็บ มี7ขั้นตอน
1.สร้างลำดับชั้นความสำคัญขององค์ประกอบ (Visual Hierachy)
2.สร้างรูปแบบ บุคลิกและสไตล์
3.สร้างความสม่ำเสมอตลอดทั่วทั้งเว็บไซต์
4.จัดวางองค์ประกอบที่สำคัญไว้ในส่วนบนของหน้าเสมอ
5.สร้างจุดสนใจด้วยความแตกต่าง
6.จัดแต่งให้หน้าเว็บเป็นระเบียบและเรียบร้อย
7.ใช้กราฟิกที่เหมาะสม
เข้าใจลักษณะแนวทางของเว็บ
1.การใช้เป็นสื่อตรงให้อ่านบนหน้าจอ
2.การใช้เป็นสื่อกลางในการพิมพ์ข้อมูลลงในหน้าเว็บรวบรวมหรืออ่านในภายหลัง
ออกแบบหน้าเว็บให้มีความยาว
- โดยทั่วไปควรสร้างเว็บขนาดสั้นสำหรับ : หน้าโฮมเพจ
- เลือกใช้เว็บขนาดยาว : สำหรับเนื้อหาเยอะ เหมาะแก่การพิมพ์
การออกแบบหน้าเว็บสำหรับพิมพ์
1.สำหรับอ่านบนหน้าจอ
2.สำหรับพิมพ์
รูปแบบโครงสร้างหน้าเว็บ
1.โครงสร้างหน้าเว็บในแนวตั้ง
2.โครงสร้างหน้าเว็บในแนวนอน
3.โครงสร้างหน้าเว็บที่พอดีกับหน้าจอ
4.โครงสร้างหน้าเว็บแบบสร้างสรรค์
สวนประกอบหน้าเว็บ
1.ส่วนหัว (Page Header)
2.ส่วนเนื้อหา (Page Body)
3.ส่วนท้าย(Page Footer)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น